bd-sufficiencyeconomy.com
เกี่ยวกับเรา
บริษัท บาธรูมดีไซน์ ไอ-สปา จำกัด
วิสัยทัศน์
เป้าหมาย
ประวัติคุณวัชรมงคล
ภาพคุณวัชรมงคล
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประยุกต์ใช้ภาคธุรกิจ
การเผยแพร่ความรู้
VTR และ Youtube
สื่อสิ่งพิมพ์
ข้อมูลการบรรยาย
กำหนดการบรรยาย ปี 2559
ภาพบรรยาย ปี 2559
กำหนดการบรรยาย ปี 2558
ภาพบรรยาย ปี 2554-2558
กำหนดการเเละภาพการบรรยาย
กำหนดการบรรยาย ปี 2563
ภาพบรรยาย ปี 2563
กำหนดการบรรยาย ปี 2562
ภาพบรรยาย ปี 2562
กำหนดการบรรยาย ปี 2561
ภาพบรรยาย ปี 2561
กำหนดการบรรยาย ปี 2560
ภาพบรรยาย ปี 2560
กำหนดการบรรยาย ปี 2559
ภาพบรรยาย ปี 2559
กำหนดการบรรยาย ปี 2558
ภาพบรรยาย ปี 2554-2558
VTR และ Youtube
สื่อสิ่งพิมพ์
กำหนดการเเละภาพการบรรยาย
กำหนดการบรรยาย ปี 2563
ภาพบรรยาย ปี 2563
กำหนดการบรรยาย ปี 2562
ภาพบรรยาย ปี 2562
กำหนดการบรรยาย ปี 2561
ภาพบรรยาย ปี 2561
กำหนดการบรรยาย ปี 2560
ภาพบรรยาย ปี 2560
กำหนดการบรรยาย ปี 2559
ภาพบรรยาย ปี 2559
กำหนดการบรรยาย ปี 2558
ภาพบรรยาย ปี 2554-2558
VTR และ Youtube
สื่อสิ่งพิมพ์
แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาและแนวคิดเปรียบเทียบ
แผนภาพปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหาร
เศรษฐกิจพอเพียง
เป็น ปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้
๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ อย่างรอบคอบ
๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
เงื่อนไขของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้
๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ
๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
ที่มา:
มูลนิธิชัยพัฒนา
×
Line Chat
Line
line ID :
@ecomsiam
Scan QR code หรือกด Add friend ได้ที่
https://line.me/R/ti/p/%40yel6714y